UPDATE
NEWS
รื้อเกณฑ์ราคารับซื้อไฟจากโซลาร์รูฟท็อป
สร้างแรงจูงใจให้ประชาชนร่วมโครงการ
นายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
กล่าวว่า เตรียมปรับปรุงหลักเกณฑ์โครงการโซลาร์ภาค
ประชาชน เพื่อจูงใจบ้านที่อยู่อาศัยติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์
บนหลังคาที่อยู่อาศัย (โซลาร์รูฟท็อป) มากขึ้น เนื่องจาก
เงื่อนไขโครงการโซลาร์ภาคประชาชนปัจจุบัน ยื่นข้อเสนอรับ
ซื้อไฟผลิตจากโซลาร์รูฟท็อปในส่วนที่ผลิตแล้วเหลือใช้อัตรา
1.68 บาทต่อหน่วย จึงไม่จูงใจประชาชน ดังนั้นจะปรับราคารับ
ซื้อเพิ่มขึ้น อาทิ 2.00-2.20 บาทต่อหน่วยได้
“จะสนับสนุนให้ทุกบ้านติดตั้งแผงโซลาร์ เพื่อผลิตใช้ไฟ
และเหลือก็ขาย ทดลองนำร่องเป็นโซนนิ่ง เริ่มในพื้นที่
ต่างจังหวัดที่มีความเหมาะสมก่อน แต่เวลานี้ต้องปรับ
เงื่อนไขส่งเสริมให้ประชาชนมาติดโซลาร์ เพราะเงื่อนไขเดิม
ราคารัฐซื้ออาจต่ำเกินไป ปีที่ผ่านมาคนเข้าร่วมโครงการแค่
3-4 เมกะวัตต์ จากเป้าหมาย 100 เมกะวัตต์ ดังนั้นจะเชิญ
กูรูมาระดมความเห็น ซึ่งการเพิ่มราคารับซื้อต้องไม่กระทบ
กับค่าไฟฟ้าผันแปร (เอฟที) รวมทั้งเงื่อนไขอื่นๆ ปีนี้ตั้งเป้า
ควรเพิ่มเป็น 50 เมกะวัตต์ ปีหน้าเป็น 100 -200 เมกะวัตต์”
UPDATE
NEWS
ออกบูทในวาระ
ครบ 60 ปี แห่งการ
ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าธนบุรี
ระหว่างวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ 2563
ดึง 200 หมู่บ้านจัดสรรร่วมขับเคลื่อนโซลาร์ประชาชน
นายสุเมฆ ปัณฑรานุวงศ์ ประธานมูลนิธิสถาบัน
พลังงานทางเลือกแห่งประเทศไทย (AEITF) กล่าวว่า
เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ของการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน
(Solar Move ) ภาคประชาชน จะมีการเริ่มนำร่อง
พื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑลในหมู่บ้านจัดสรรประมาณ
200 โครงการ ประมาณ 10,000 ครัวเรือน ให้มีความรู้ มี
ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์ และ
เพื่อร่วมกันลดภาวะโลกร้อนจากการลดการใช้ไฟฟ้าที่
ผลิตโดยเชื้อเพลิงที่เป็นฟอสซิล ซึ่งมีสัดส่วนประมาณ
75% (ก๊าซธรรมชาติ 58% และถ่านหิน/ลิกไนต์ 17%)
เทียบกับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มี
สัดส่วนเพียง 10% ทั้งนี้ เพื่อให้สอดรับแผนการพัฒนา
กำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2561-2580 (PDP
2018) จะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเป็น 30% ในปี 2580 ด้วย
UPDATE
NEWS
อยู่บ้านอย่างไรค่าไฟไม่พุ่ง กฟน.แนะประหยัดไฟช่วงกักตัวสู้โควิด
การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้ภาครัฐต้องออกมาตรการให้ประชาชนอยู่ในที่พักอาศัย รวมถึงการทำงานภายในที่พักอาศัย (Work From Home) เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค แต่...การอยู่แต่ในบ้านพัก หรือทำงานจากบ้านพัก นั่นหมายถึงค่าไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วยถ้าไม่อยากควักกระเป๋าจ่ายค่าไฟเพิ่มต้องทำอย่างไร มีคำแนะนำ จากผู้ช่วยผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง (MEA) “จาตุรงค์ สุริยาศศิน” จากการคาดการณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าช่วงฤดูร้อน เดือน เม.ย.-พ.ค. ปี 2563 พบว่า ความต้องการใช้ไฟฟ้าจำนวน 9,132 ล้านหน่วย เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 ความต้องการใช้ไฟฟ้าลดลง 470 ล้านหน่วย คิดเป็นร้อยละ 4.9 สาเหตุเพราะอุณหภูมิอากาศปีนี้ต่ำกว่าปีก่อน แต่หลังจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อโรคโควิค-19 มีประกาศให้ปิดห้างร้าน ตลาด และจุดเสี่ยง และแนะนำให้ประชาชนเก็บตัวและทำงานที่บ้านพักอาศัย พบว่าความต้องการใช้ไฟฟ้าช่วงฤดูร้อน จำนวน 8,746 ล้านหน่วย ลดลง 857 ล้านหน่วย คิดเป็นร้อยละ 8.9 พบว่าภาคที่อยู่อาศัยมีลูกค้าประมาณ 3.4 ล้านราย มีความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ขณะที่ภาคธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น โรงงาน ห้าง มีลูกค้าประมาณ 5 แสนราย และภาคธุรกิจขนาดย่อม เช่น บริษัท โรงงานขนาดเล็ก ประมาณ 3 หมื่นราย ซึ่งปกติมีความต้องการใช้ไฟฟ้าจำนวนมาก ต้องหยุดกิจการชั่วคราว ทำให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าภาคธุรกิจลดลง ปกติการใช้ไฟฟ้าภาคที่อยู่อาศัย จะเน้นช่วงเย็น และกลางคืน มากกว่าช่วงกลางวัน แต่หลังจากมีมาตรการให้อยู่บ้าน การใช้ไฟฟ้าจะเพิ่มตามกิจกรรมที่ทำในแต่ละช่วงดังนี้...
เปิด 4 ตัวอย่างโซลาร์ภาคประชาชนในต่างประเทศ
ตามติดสถานการณ์โซลาร์ภาคประชาชนในต่างประเทศ เปิด 4 ตัวอย่างจากสหรัฐอเมริกา , เยอรมนี , จีน
และออสเตรเลีย ส่องนโยบายรัฐละแนวโน้มในอนาคต ดร.พิมพ์สุภา เกาะช้าง นักวิจัย สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงสถานการณ์ โซลาร์ภาคประชาชน ในต่างประเทศว่า เนื่องจากต้นทุนการติดตั้งระบบโซลาร์มีราคา
ที่ถูกลง ในหลายๆ ปีที่ผ่านมา ทำให้แนวโน้มการติดตั้งระบบโซลาร์เติบโตอย่างต่อเนื่องในหลายๆ ประเทศ
- รัฐแคลิฟอเนียร์ ยังเป็นรัฐแรกของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ได้ออกผลบังคับใช้ให้บ้านและอาคารอพาร์ตเมนต์ใหม่ที่สร้างขึ้นหลังจากวันที่ 1 มกราคม 2020 ต้องติดตั้งพร้อมระบบโซลาร์ด้วย
- ประเทศเยอรมนี ถือเป็นตลาดโซลาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรป นโยบายขับเคลื่อนหลักที่สำคัญคือ นโยบายการผลิตเพื่อใช้เอง (Self-consumption) และนโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในอัตราพิเศษ (Feed-in Premium) สำหรับกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่
- ประเทศจีนถือเป็นประเทศที่ตลาดโซลาร์มีการเติบโตมากที่สุดจากนโยบายการสนับสนุนของรัฐบาลจีนเอง เช่น นโยบายเงินอุดหนุนโครงการโซลาร์ (solar subsidy) อัตราเงินอุดหนุนและระยะเวลาแตกต่างกันไปตามระดับภูมิภาค

for COVID 19 Surgical Mask & PPE Suit Donation
APRIL 20
นายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงพลังงาน กล่าวว่า เตรียมปรับ
ปรุงหลักเกณฑ์โครงการโซลาร์ภาค
ประชาชน เพื่อจูงใจบ้านที่อยู่อาศัยติดตั้ง
พลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาที่อยู่อาศัย
(โซลาร์รูฟท็อป) มากขึ้น เนื่องจาก
เงื่อนไขโครงการโซลาร์ภาคประชาชน
ปัจจุบัน ยื่นข้อเสนอรับซื้อไฟผลิตจาก
โซลาร์รูฟท็อปในส่วนที่ผลิตแล้วเหลือใช้
อัตรา 1.68 บาทต่อหน่วย จึงไม่จูงใจ
ประชาชน ดังนั้นจะปรับราคารับซื้อ
เพิ่มขึ้น อาทิ 2.00-2.20 บาทต่อหน่วยได้

ปัจจุบันราคาแผงโซลาร์ถูกลง 5,000 บาทต่อแผง 300 วัตต์ รวมถึงโซลาร์ประชาชน
แม้จะยังเริ่มต้นได้ไม่มาก แต่ยังคงเดินหน้าตามเป้าหมาย 100 เมกะวัตต์ ซึ่งปัจจุบัน
โรงงานอุตสาหกรรมเริ่มติดตั้งแล้ว ประชาชนยังสามารถสมัครได้ที่เรกูเลเตอร์ และ
กกพ. หรือร่วมผลักดันการใช้โซลาร์ให้มากขึ้น เช่น โครงการดังกล่าวจะเป็นหนึ่ง
ในการกระตุ้นให้ครัวเรือนใช้พลังงานทางเลือกที่ประหยัดขึ้น ขณะเดียวกันก็จะช่วย
อนุรักษ์พลังงานอีกด้วย
รัฐวิสาหกิจ สังกัด กระทรวงมหาดไทย ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบระบบจำหน่ายไฟฟ้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ พร้อมตอบสนองนโยบายรัฐบาล โดยการดำเนินมาตรการดังกล่าวจะเป็น การช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัยจำนวนประมาณ 22 ล้านราย เป็นวงเงินประมาณ 23,668 ล้านบาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
https://www.thairath.co.th/news/local/1825151

การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้ภาครัฐต้องออกมาตรการให้ประชาชนอยู่
ในที่พักอาศัย รวมถึงการทำงานภายในที่พักอาศัย (Work From Home) เพื่อลด
การแพร่กระจายของเชื้อโรค แต่...การอยู่แต่ในบ้านพัก หรือทำงานจากบ้านพัก
นั่นหมายถึงค่าไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วยถ้าไม่อยากควักกระเป๋าจ่ายค่าไฟเพิ่ม
ต้องทำอย่างไร มีคำแนะนำ จากผู้ช่วยผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง (MEA)
“จาตุรงค์ สุริยาศศิน” จากการคาดการณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าช่วงฤดูร้อน
เดือน เม.ย.-พ.ค. ปี 2563 พบว่า ความต้องการใช้ไฟฟ้าจำนวน 9,132 ล้านหน่วย
เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 ความต้องการใช้ไฟฟ้าลดลง 470
ล้านหน่วย คิดเป็นร้อยละ 4.9 สาเหตุเพราะอุณหภูมิอากาศปีนี้ต่ำกว่าปีก่อน แต่
หลังจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อโรคโควิค-19 มีประกาศให้ปิดห้างร้าน
ตลาด และจุดเสี่ยง และแนะนำให้ประชาชนเก็บตัวและทำงานที่บ้านพักอาศัย
พบว่าความต้องการใช้ไฟฟ้าช่วงฤดูร้อน จำนวน 8,746 ล้านหน่วย ลดลง 857
ล้านหน่วย คิดเป็นร้อยละ 8.9 พบว่าภาคที่อยู่อาศัยมีลูกค้าประมาณ 3.4 ล้านราย
มีความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ขณะที่ภาคธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น โรงงาน ห้าง
มีลูกค้าประมาณ 5 แสนราย และภาคธุรกิจขนาดย่อม เช่น บริษัท โรงงานขนาด
เล็ก ประมาณ 3 หมื่นราย ซึ่งปกติมีความต้องการใช้ไฟฟ้าจำนวนมาก ต้องหยุด
กิจการชั่วคราว ทำให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าภาคธุรกิจลดลง ปกติการใช้ไฟฟ้า
ภาคที่อยู่อาศัย จะเน้นช่วงเย็น และกลางคืน มากกว่าช่วงกลางวัน แต่หลังจาก
มีมาตรการให้อยู่บ้าน การใช้ไฟฟ้าจะเพิ่มตามกิจกรรมที่ทำในแต่ละช่วงดังนี้...
อยู่บ้านอย่างไรค่าไฟไม่พุ่ง กฟน.
แนะประหยัดไฟช่วงกักตัวสู้โควิด

ตามติดสถานการณ์โซลาร์ภาคประชาชนในต่างประเทศ เปิด 4 ตัวอย่างจากสหรัฐอเมริกา , เยอรมนี , จีน และออสเตรเลีย ส่องนโยบายรัฐละแนวโน้มในอนาคต ดร.พิมพ์สุภา เกาะช้าง นักวิจัย สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงสถานการณ์ โซลาร์ภาคประชาชน ในต่างประเทศว่า เนื่องจากต้นทุนการติดตั้งระบบโซลาร์มีราคาที่ถูกลง ในหลายๆ ปีที่ผ่านมา ทำให้แนวโน้มการติดตั้งระบบโซลาร์เติบโตอย่างต่อเนื่องในหลายๆประเทศ

รื้อเกณฑ์ราคารับซื้อไฟจากโซลาร์รูฟท็อป
สร้างแรงจูงใจให้ประชาชนร่วมโครงการ
“จะสนับสนุนให้ทุกบ้านติดตั้งแผงโซลาร์ เพื่อผลิตใช้ไฟ และเหลือก็ขาย ทดลองนำร่องเป็นโซนนิ่ง เริ่มในพื้นที่ต่างจังหวัดที่มีความเหมาะสมก่อน แต่เวลานี้ต้องปรับเงื่อนไขส่งเสริมให้ประชาชนมาติดโซลาร์ เพราะเงื่อนไขเดิม ราคารัฐซื้ออาจต่ำเกินไป ปีที่ผ่านมาคนเข้าร่วมโครงการแค่ 3-4 เมกะวัตต์ จากเป้าหมาย 100 เมกะวัตต์ ดังนั้นจะเชิญกูรูมาระดมความเห็น ซึ่งการเพิ่มราคารับซื้อต้องไม่กระทบกับค่าไฟฟ้าผันแปร (เอฟที) รวมทั้งเงื่อนไขอื่นๆ ปีนี้ตั้งเป้าควรเพิ่มเป็น 50 เมกะวัตต์ ปีหน้าเป็น 100 -200 เมกะวัตต์”
ปัจจุบันราคาแผงโซลาร์ถูกลง 5,000 บาทต่อแผง 300 วัตต์ รวมถึง
โซลาร์ประชาชน แม้จะยังเริ่มต้นได้ไม่มาก แต่ยังคงเดินหน้าตาม
เป้าหมาย 100 เมกะวัตต์ ซึ่งปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมเริ่มติดตั้ง
แล้ว ประชาชนยังสามารถสมัครได้ที่เรกูเลเตอร์ และ กกพ. หรือ
ร่วมผลักดันการใช้โซลาร์ให้มากขึ้น เช่น โครงการดังกล่าวจะเป็น
หนึ่งในการกระตุ้นให้ครัวเรือนใช้พลังงานทางเลือกที่ประหยัดขึ้น
ขณะเดียวกันก็จะช่วยอนุรักษ์พลังงานอีกด้วย

- ประเทศออสเตรเลีย เป็นประเทศที่ใช้พลังงานโซลาร์มากที่สุดในโลกเนื่องมาจากอัตราค่าไฟที่มีราคาแพง ทำให้ประเทศออสเตรเลียบูมเรื่องการใช้พลังงานโซลาร์อย่างมาก โดยมากกว่า 21% ของหลังคาบ้านเรือนติดตั้งแผงโซลาร์ หรือประมาณ 2.21 ล้านระบบโซลาร์บนหลังคาที่ติดตั้งแล้วทั่วประเทศออสเตรเลีย
- รัฐแคลิฟอเนียร์ ยังเป็นรัฐแรกของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ได้ออกผลบังคับใช้ให้บ้านและอาคารอพาร์ตเมนต์ใหม่ที่สร้างขึ้นหลังจากวันที่ 1 มกราคม 2020 ต้องติดตั้งพร้อมระบบโซลาร์ด้วย
- ประเทศเยอรมนี ถือเป็นตลาดโซลาร์ที่ใหญ่ที่สุดในสหภาพยุโรป นโยบายขับเคลื่อนหลักที่สำคัญคือ นโยบายการผลิตเพื่อใช้เอง (Self-consumption) และนโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในอัตราพิเศษ (Feed-in Premium) สำหรับกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่
- ประเทศจีนถือเป็นประเทศที่ตลาดโซลาร์มีการเติบโตมากที่สุดจากนโยบายการสนับสนุนของรัฐบาลจีนเอง เช่น นโยบายเงินอุดหนุนโครงการโซลาร์ (solar subsidy) อัตราเงินอุดหนุนและระยะเวลาแตกต่างกันไปตามระดับภูมิภาค
- ประเทศออสเตรเลีย เป็นประเทศที่ใช้พลังงานโซลาร์มากที่สุดในโลก เนื่องมาจากอัตราค่าไฟที่มีราคาแพง ทำให้ประเทศออสเตรเลียบูมเรื่องการใช้พลังงานโซลาร์อย่างมาก โดยมากกว่า 21%ของหลังคาบ้านเรือนติดตั้งแผงโซลาร์ หรือประมาณ 2.21 ล้านระบบโซลาร์บนหลังคาที่ติดตั้งแล้วทั่วประเทศออสเตรเลีย

Brilliant Power
ออกงาน
ASIAN
SUSTAINABLE
ENERGY
23-26 มิถุนายน 2563

Brilliant Power
ออกงาน
ASIAN
SUSTAINABLE
ENERGY
23-26 มิถุนายน 2563
